ปวช. คืออะไร ย่อมาจาก จบ ปวช จะเข้ามหาลัยต้องเตรียมอะไรบ้าง

Reading Time: 3 minutes

ปวช. ย่อมาจาก

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ปวช. คืออะไร

ปวช. คือ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยเป็นวุฒิการศึกษาที่เทียบเท่ากับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ปวช. มีสาขาวิชาอะไรบ้าง

ตามคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ปี พ.ศ. 2556 – 2561 กำหนดมาตรฐานหลักสูตรและสาขาวิชา 9 ประเภทวิชา ได้แก่

1. ปวช. สาขา วิชาอุตสาหกรรม

2. ปวช. สาขา วิชาพาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ

3. ปวช. สาขา วิชาศิลปกรรม

4. ปวช. สาขา วิชาคหกรรม

5. ปวช. สาขา วิชาเกษตรศาสตร์

6. ปวช. สาขา วิชาประมง

7. ปวช. สาขา วิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

8. ปวช. สาขา วิชาอุตสาหกรรมสิ่งทอ

9. ปวช. สาขาประเภท วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

 

ปวช สาขา วิชาอุตสาหกรรม

1. สาขาวิชาช่างยนต์

– สาขางานยานยนต์

– สาขางานเครื่องกลอุตสาหกรรม

– สาขางานเครื่องกลเรือ

– สาขางานเครื่องกลเกษตร

– สาขาตัวถังและสีรถยนต์

2. สาขาวิชาช่างกลโรงงาน

– สาขางานเครื่องมือกล

– สาขางานแม่พิมพ์โลหะ

– สาขางานแม่พิมพ์พลาสติก

– สาขางานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์

3. สาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะสาขางานผลิตภัณฑ์

– สาขางานโครงสร้าง

– สาขางานอุตสาหกรรมต่อตัวถังรถโดยสาร

4. สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง

– สาขางานไฟฟ้ากำลัง

5. สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์

– สาขางานอิเล็กทรอนิกส์

6. สาขาวิชาช่างก่อสร้าง

– สาขางานก่อสร้าง

7. สาขาวิชาช่างเครื่องเรือนและตกแต่งภายใน

– สาขางานเครื่องเรือนและตกแต่งภายใน

8. สาขาวิชาสถาปัตยกรรม

– สาขางานสถาปัตยกรรม

9. สาขาวิชาสำรวจ

– สาขางานสำรวจ

10. สาขาวิชาช่างเขียนแบบเครื่องกล

– สาขางานเขียนแบบเครื่องกล

11. สาขาวิชาช่างซ่อมบำรุง

– สาขางานซ่อมบำรุง

12. สาขาวิชาช่างพิมพ์

– สาขางานช่างพิมพ์

13. สาขาวิชาเทคนิคแว่นตาและเลนส์

– สาขางานแว่นตาและเลนส์

14. สาขาวิชาช่างต่อเรือ

– สาขางานต่อเรือโลหะ

– สาขางานต่อเรือไม้และไฟเบอร์กลาส

– สาขางานนาวาสถาปัตย์

15. สาขาวิชาโทรคมนาคม

– สาขางานโทรคมนาคม

16. สาขาวิชาโยธา

– สาขางานโยธา

17. สาขาวิชาอุตสาหกรรมยาง

– สาขางานอุตสาหกรรมยาง

18. สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์

– สาขางานเมคคาทรอนิกส์

ปวช สาขา วิชาพาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ

1. สาขาวิชาการบัญชี

– สาขางานการบัญชี

2. สาขาวิชาการตลาด

– สาขางานการตลาด

3. สาขางานการเลขานุการ

– สาขางานการตลาด

4. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์

– สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

5. สาขาวิชาธุรกิจสถานพยาบาล

– สาขางานธุรกิจสถานพยาบาล

6. สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์

– สาขางานการประชาสัมพันธ์

7. สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก

– สาขางานธุรกิจค้าปลีกทั่วไป

– สาขางานธุรกิจค้าปลีกร้านสะดวกซื้อ

– สาขางานธุรกิจค้าปลีกสรรพสินค้า

– สาขางานธุรกิจค้าปลีกซุปเปอร์เซ็นเตอร์

– สาขางานธุรกิจค้าปลีกซุปเปอร์มาร์เก็ต

– สาขางานธุรกิจค้าปลีกสินค้าเฉพาะอย่าง

– สาขางานธุรกิจบริการ

– สาขางานธุรกิจค้าปลีกร้านอาหารและภัตตาคาร

8. สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ

– สาขางานภาษาต่างประเทศ

ปวช สาขา วิชาศิลปกรรม

1. สาขาวิชาวิจิตรศิลป์

– สาขางานวิจิตรศิลป์

2. สาขาวิชาการออกแบบ

– สาขางานการออกแบบ

3. สาขาวิชาศิลปหัตถกรรม

– สาขางานศิลปหัตถกรรม

4. สาขาวิชาศิลปกรรมเซรามิก

– สาขางานศิลปกรรมเซรามิก

5. สาขาวิชาศิลปหัตถกรรมรูปพรรณและเครื่องประดับ

– สาขางานศิลปหัตถกรรมรูปพรรณและเครื่องประดับ

6. สาขาวิชาการถ่ายภาพและวีดิทัศน์

– สาขางานการถ่ายภาพและวีดิทัศน์

7. สาขาวิชาเทคโนโลยีศิลปกรรม

– สาขางานเทคโนโลยีศิลปกรรม

8. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟฟิก

– สาขางานคอมพิวเตอร์กราฟฟิกอาร์ต

– สาขางานมัลติมีเดีย

– สาขางานแอนิเมชั่น

9. สาขาวิชาอุตสาหกรรมเครื่องหนัง

– สาขางานผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง

10. สาขาวิชาเครื่องประดับอัญมณี

– สาขางานเครื่องประดับอัญมณี

– สาขางานวิทยาการการเจียระไนอัญมณี

11. สาขาวิชาช่างทองหลวง

– สาขางานช่างทองหลวง

– สาขางานเครื่องประดับอัญมณี

12. สาขาวิชาศิลปะการดนตรี

– สาขางานดนตรี

– สาขางานดนตรีประกอบสื่อและการแสดง

ปวช สาขา วิชาคหกรรม

1. สาขาวิชาแฟชั่นและสิ่งทอ

– สาขางานแฟชั่นดีไซน์

– สาขางานแฟชั่นดีไซน์

– สาขางานเสื้อผ้าแฟชั่น

– สาขางานอุตสาหกรรมเสื้อผ้า

– สาขางานธุรกิจแฟชั่น

2. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ

– สาขางานอาหารและโภชนาการ

– สาขางานแปรรูปอาหาร

– สาขางานธุรกิจอาหาร

3. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์

– สาขางานธุรกิจดอกไม้และงานประดิษฐ์

– สาขางานเด็กปฐมวัย

– สาขางานคหกรรมเพื่อการโรงแรม

4. สาขาวิชาเสริมสวย

– สาขางานเสริมสวย

ปวช สาขา วิชาเกษตรศาสตร์

– สาขางานการเกษตร

– สาขางานผลิตสัตว์นํ้า

– สาขางานช่างเกษตร

– สาขางานอุตสาหกรรมเกษตร

– สาขางานผลิตสัตว์นํ้า

ปวช สาขา วิชาประมง

1. สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า

– สาขางานเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า

2. สาขาวิชาแปรรูปสัตว์นํ้า

– สาขางานแปรรูปสัตว์นํ้า

– สาขางานผลิตภัณฑ์สัตว์นํ้า

– แช่เยือกแข็ง

– สาขางานซูริมิและผลิตภัณฑ์

– สาขางานผลิตภัณฑ์สัตว์นํ้า

– บรรจุกระป๋อง

ปวช สาขา วิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

1. สาขาวิชาการโรงแรม

– สาขางานการโรงแรม

2. สาขาวิชาการท่องเที่ยว

– สาขางานการท่องเที่ยว

ปวช สาขา วิชาอุตสาหกรรมสิ่งทอ

1. สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ

– สาขางานเทคโนโลยีสิ่งทอ

2. สาขาวิชาเคมีสิ่งทอ

– สาขางานเคมีสิ่งทอ

3. สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องนุ่งห่ม

– สาขางานเทคโนโลยีเครื่องนุ่งห่ม

ปวช สาขาประเภท วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

– สาขางานเทคโนโลยีสารสนเทศ

ปวช. เรียนอะไรบ้าง

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพมีหลายสาขาให้เลือกเรียนอย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นสาขาวิชาทางด้านอุสาหกรรม, พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ, ศิลปกรรม, คหกรรม, ประมง, การท่องเที่ยว, อุตสาหกรรมสิ่งทอ รวมไปถึงสาขาวิชาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารด้วย

ปวช. เรียน กี่ปี

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยส่วนใหญ่แล้วจะเป็นหลักสูตร 3 ปี

วุฒิ ม.6 เทียบเท่า ปวช. ไหม

ปวช. คือ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยเป็นวุฒิการศึกษาที่เทียบเท่ากับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ม.6 นั่นเอง

เรียน ปวช. ต่อมหาลัยได้ไหม

สามารถทำได้ โดยในปัจจุบันมีมหาวิทยาลัยหลายแห่งที่รับผู้สมัครที่จบการศึกษาในหลักสูตร ปวช.มา เช่น

– มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

– มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

– สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

– มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ทั่วประเทศ

– สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา

– มหาวิทยาลัยราชภัฎ ทั่วประเทศ

ปวช. จะเข้ามหาลัยต้องเตรียมอะไรบ้าง

จริงๆแล้ว ให้เตรียมตัวสำหรับการสอบเหมือนนักเรียนคนอื่น ๆ เช่น TGAT, TPAT หรือข้อสอบอื่น ๆ ที่คณะนั้น ๆ กำหนดให้ยื่นคะแนน

แนะนำ ปวช อินเตอร์ ในไทย

จริงๆ แล้วจะไม่มีแบบที่เป็นอินเตอร์ แต่จะเรียกว่าเป็น English Program (EP) และ Mini English Program (MEP) ยกตัวอย่างเช่น

– โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

– สาขาวิชาการโรงแรม (Mini EP) วิทยาลัยอาชีวศึกษากาญจนบุรี

– สาขางานการโรงแรม (Mini EP) วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี

– วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ SBAC

– Assumption Commercial College: ACC Business Prep School

สอบเข้า ปวช. ใช้วิชาอะไรบ้าง

โดยทั่วไปมักจะสอบวิชาหลัก ๆ ได้แก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย หรือพวกวิชาที่เกี่ยวกับสาขานั้น ๆ เช่น พื้นฐานช่าง ทั้งนี้ รายละเอียดการสอบว่าจะสอบกี่วิชา มีการสอบเข้าหรือไม่ จะขึ้นอยู่กับแต่ละสถานศึกษาเป็นคนกำหนด

คอร์สติวตัวต่อตัวสอบเข้า ปวช.

เตรียมพร้อมสำหรับการสอบเข้าเรียนต่อหลักสูตร ปวช. ด้วยคอร์สเรียน Private ตัวต่อตัว แบบ hybrid learning ที่ผู้เรียนสามารถเลือกได้ว่าจะเรียนที่สถาบันหรือเรียนสดออนไลน์ อีกทั้งยังสามารถเลือกวัน เวลาเรียนได้ หมดปัญหาตารางเรียนไม่ลงตัว ไม่มีเวลาเดินทาง อยู่ไกล ก็สามารถเรียนสดได้ คอร์สเรียนสอนโดยติวเตอร์ที่จบการศึกษาระดับปริญญาโท เป็นคอร์สที่จะช่วยให้การลงสนามสอบเข้า ปวช. ไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป

เรียนตัวต่อตัว

จำนวนนักเรียนจำนวนชั่วโมง

20 ชม.

30 ชม.

40 ชม.
1 คน22,000 ฿33,000 ฿44,000 ฿
2 คน
( ประหยัดถึง 25% )
33,000 ฿49,500 ฿66,000 ฿
3 คน
( ประหยัดถึง 40% )
39,600 ฿59,400 ฿79,200 ฿
  แถมฟรี 2 ชม.แถมฟรี 4 ชม.
หมายเหตุ :
– คอร์สส่วนตัว-ห้องเรียนส่วนตัว เรียนที่สถาบัน ผู้เรียนสามารถเลือกวันและเวลา เรียนเองได้
Related Posts