Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง ไฟฟ้าสถิต คืออะไร ไฟฟ้าสถิต หรือ Static electricity เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากความไม่สมดุลของปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบภายในวัสดุหรือบนพื้นผิวของวัสดุ ซึ่งประจุไฟฟ้าเหล่านั้นจะยังคงอยู่จนกระทั่งเกิดการเคลื่อนที่หรือมีการถ่ายเทประจุ (Electrostatic Discharge) โดยปกติแล้ววัสดุทุกชนิดมีความเป็นกลางทางไฟฟ้า (มีปริมาณของประจุบวกและประจุลบอย่างละเท่า ๆ กัน) แต่หากมีการขัดถู สัมผัส หรือเสียดสีกันระหว่างวัสดุก็จะทำให้ประจุไฟฟ้าเหล่านี้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้าหรือที่เรียกว่า ฉนวน เช่น การนำลูกโป่งมาถูกับเส้นผม หรือการสัมผัสกันระหว่างรองเท้าหนังและพรมเช็ดเท้า สิ่งเหล่านี้จะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไฟฟ้า เป็นผลให้เกิดความไม่สมดุลของจำนวนประจุบวกและประจุลบในวัสดุแต่ละชิ้น
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา ไฟฟ้ากระแสตรง คืออะไร ไฟฟ้ากระแส คือ การไหลของอิเล็กตรอนภายใน ตัวนำไฟฟ้าจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเช่น ไหลจาก แหล่งกำเนิดไฟฟ้าไปสู่แหล่ง ที่ต้องการใช้กระ แสไฟฟ้า ซึ่งก่อให้เกิด แสงสว่าง เมื่อกระแส ไฟฟ้าไหลผ่านลวด ความต้านทานสูงจะก่อให้ เกิดความร้อน เราใช้หลักการเกิดความร้อน เช่นนี้มาประดิษฐ์อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น เตาหุงต้ม เตารีดไฟฟ้า เป็นต้น ไฟฟ้ากระแสแบ่งออกเป็น
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา งานและพลังงาน คืออะไร งาน (Work) คือ ปริมาณของพลังงานที่เป็นผลมาจากแรงซึ่งกระทำต่อวัตถุ ก่อนส่งผลให้วัตถุดังกล่าวเคลื่อนที่ไปตามแนวแรงได้ในระยะทางหนึ่ง โดยในระบบเอสไอ (SI) งานและพลังงานจะเป็นปริมาณสเกลาร์ (Scalar) มีหน่วยเป็นนิวตันเมตร (N•m) หรือ จูล (J) ซึ่งสามารถคำนวณได้จาก W = F x s เมื่อ F
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง โมเมนตัม คืออะไร โมเมนตัม คือ ปริมาณการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งจะบ่งบอกถึงความพยายามที่จะเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของวัตถุ โดยปริมาณนี้จะขึ้นอยู่กับมวลและความเร็วของวัตถุในขณะนั้น ตามความสัมพันธ์ว่า โมเมนตัม = มวล x ความเร็ว P = mv โดย P คือ ปริมาณโมเมนตัม m คือ มวลของวัตถุในขณะนั้น V
Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง การหมุน คืออะไร การหมุน คือ การออกแรงกระทำกับวัตถุโดยไม่ผ่านศูนย์กลางมวลจนทำให้วัตถุเคลื่อนที่ในลักษณะหมุน ซึ่งวัตถุอาจจะหมุนอยู่กับที่หรือหมุนไปด้วยและเปลี่ยนตำแหน่งไปด้วย เราเรียกว่า การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational motion) การหมุนเกิดจากการออกแรงกระทำกับวัตถุ โดยแรงลัพธ์ไม่ผ่านศูนย์กลางมวล ทำให้เกิดปริมาณที่ได้จากการหมุนเรียกว่า โมเมนต์ของแรง หรือ ทอร์ก (Torque) และเมื่อวัตถุหมุนจะมีความเร็วรอบจุดหมุน เรียกว่า “ความเร็วเชิงมุม เมื่อออกแรงกระทำกับวัตถุที่ไม่มีการเปลี่ยนรูปร่างซึ่งเรียกว่า วัตถุแข็งเกร็ง (Rigid body)
Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหา แรงและกฏการเคลื่อนที่ คืออะไร แรง (Force, F) คือ สิ่งที่กระทำต่อวัตถุ แล้วทําให้วัตถุเปลี่ยนแปลงจากสภาพเดิม โดยอาจจะสัมผัสกับวัตถุหรือไม่สัมผัสวัตถุก็ได้ แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทั้งขนาดและทิศทาง หน่วยของแรง คือ นิวตัน ( N ) ซึ่งแรงมีหลายชนิด ได้แก่ แรงดึง ที่ทำให้วัตถุยืดออกหรือแยกจากกัน แรงอัดหรือแรงกด ที่ทำให้วัตถุถูกบีบตัว แรงบิด
Reading Time: < 1 minute สรุปเนื้อหาเรื่อง การเคลื่อนที่แนวโค้ง การเคลื่อนที่แบบวิถีโค้ง หรือการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ คือ การเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีแรงกระทำทำมุมใดๆ กับความเร็ว โดยมุมกระทำนั้นไม่คงที่ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จะได้ลักษณะการเคลื่อนที่เป็น โค้งพาราโบลาซึ่งมีการขจัดเกิดขึ้น 2 แนวพร้อมกันคือ แนวราบและแนวดิ่ง ดังนั้น ความเร็วขณะใด ๆ ของการเคลื่อนที่จะต้องประกอบด้วยความเร็ว 2 แนว คือ แนวราบ ( V )
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง ของไหล คืออะไร ของไหล หรือ Fluids คือ สสารที่สามารถไหลได้โดยมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ เมื่ออยู่ในสภาวะสมดุล ของไหลจะไม่สามารถรับแรงเฉือนได้และของไหลทุกชนิดจะยุบตัวตามความกดดันได้เล็กน้อย ซึ่งในที่นี้ก็คือของเหลวและแก๊ส สมบัติพื้นฐานของของไหล ความหนาแน่น (Density, p ) คือ มวลสารต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ความหนาแน่นเป็นลักษณะหนึ่งซึ่งแสดงถึงคุณสมบัติเชิงกายภาพของสสาร ในการศึกษากลศาสตร์ของไหลเบื้องตัน (ที่ของไหลมีความเร็วต่ำกว่าความเร็วเสียงมาก) สามารถกำหนดให้ความหนาแน่นของของไหลเป็นค่าคงตัวได้ ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย คืออะไร การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย หรือ Simple Harmonic Motion : SHM คือ การเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำทางเดิมโดยผ่านตำแหน่งสมดุล และมีคาบของการเคลื่อนที่คงตัว เช่น การเคลื่อนที่ของวัตถุติดปลายสปริง การสั่นของสายเครื่องดนตรี การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา ปริมาณที่ต้องรู้ สำหรับเรื่องการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย ความถี่ (f) คือ จำหน่วยรอบของการเคลื่อนที่ใน 1 วินาที
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา คลื่นกล คืออะไร คลื่นกล หรือ Mechanics wave คือ คลื่นที่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น คลื่นเส้นเชือก คลื่นสปริง หรือคลื่นผิวน้ำ ชนิดของคลื่น แบ่งตามลักษณะการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลางขณะคลื่นเคลื่อนที่ผ่าน ได้แก่ คลื่นตามยาว ซึ่งเป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นในสปริง คลื่นเสียง เป็นต้น คลื่นตามขวาง เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น
Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง ไฟฟ้าสถิต คืออะไร ไฟฟ้าสถิต หรือ Static electricity เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากความไม่สมดุลของปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบภายในวัสดุหรือบนพื้นผิวของวัสดุ ซึ่งประจุไฟฟ้าเหล่านั้นจะยังคงอยู่จนกระทั่งเกิดการเคลื่อนที่หรือมีการถ่ายเทประจุ (Electrostatic Discharge) โดยปกติแล้ววัสดุทุกชนิดมีความเป็นกลางทางไฟฟ้า (มีปริมาณของประจุบวกและประจุลบอย่างละเท่า ๆ กัน) แต่หากมีการขัดถู สัมผัส หรือเสียดสีกันระหว่างวัสดุก็จะทำให้ประจุไฟฟ้าเหล่านี้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้าหรือที่เรียกว่า ฉนวน เช่น การนำลูกโป่งมาถูกับเส้นผม หรือการสัมผัสกันระหว่างรองเท้าหนังและพรมเช็ดเท้า สิ่งเหล่านี้จะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไฟฟ้า เป็นผลให้เกิดความไม่สมดุลของจำนวนประจุบวกและประจุลบในวัสดุแต่ละชิ้น
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา ไฟฟ้ากระแสตรง คืออะไร ไฟฟ้ากระแส คือ การไหลของอิเล็กตรอนภายใน ตัวนำไฟฟ้าจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเช่น ไหลจาก แหล่งกำเนิดไฟฟ้าไปสู่แหล่ง ที่ต้องการใช้กระ แสไฟฟ้า ซึ่งก่อให้เกิด แสงสว่าง เมื่อกระแส ไฟฟ้าไหลผ่านลวด ความต้านทานสูงจะก่อให้ เกิดความร้อน เราใช้หลักการเกิดความร้อน เช่นนี้มาประดิษฐ์อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น เตาหุงต้ม เตารีดไฟฟ้า เป็นต้น ไฟฟ้ากระแสแบ่งออกเป็น
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา งานและพลังงาน คืออะไร งาน (Work) คือ ปริมาณของพลังงานที่เป็นผลมาจากแรงซึ่งกระทำต่อวัตถุ ก่อนส่งผลให้วัตถุดังกล่าวเคลื่อนที่ไปตามแนวแรงได้ในระยะทางหนึ่ง โดยในระบบเอสไอ (SI) งานและพลังงานจะเป็นปริมาณสเกลาร์ (Scalar) มีหน่วยเป็นนิวตันเมตร (N•m) หรือ จูล (J) ซึ่งสามารถคำนวณได้จาก W = F x s เมื่อ F
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง โมเมนตัม คืออะไร โมเมนตัม คือ ปริมาณการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งจะบ่งบอกถึงความพยายามที่จะเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของวัตถุ โดยปริมาณนี้จะขึ้นอยู่กับมวลและความเร็วของวัตถุในขณะนั้น ตามความสัมพันธ์ว่า โมเมนตัม = มวล x ความเร็ว P = mv โดย P คือ ปริมาณโมเมนตัม m คือ มวลของวัตถุในขณะนั้น V
Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง การหมุน คืออะไร การหมุน คือ การออกแรงกระทำกับวัตถุโดยไม่ผ่านศูนย์กลางมวลจนทำให้วัตถุเคลื่อนที่ในลักษณะหมุน ซึ่งวัตถุอาจจะหมุนอยู่กับที่หรือหมุนไปด้วยและเปลี่ยนตำแหน่งไปด้วย เราเรียกว่า การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational motion) การหมุนเกิดจากการออกแรงกระทำกับวัตถุ โดยแรงลัพธ์ไม่ผ่านศูนย์กลางมวล ทำให้เกิดปริมาณที่ได้จากการหมุนเรียกว่า โมเมนต์ของแรง หรือ ทอร์ก (Torque) และเมื่อวัตถุหมุนจะมีความเร็วรอบจุดหมุน เรียกว่า “ความเร็วเชิงมุม เมื่อออกแรงกระทำกับวัตถุที่ไม่มีการเปลี่ยนรูปร่างซึ่งเรียกว่า วัตถุแข็งเกร็ง (Rigid body)
Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหา แรงและกฏการเคลื่อนที่ คืออะไร แรง (Force, F) คือ สิ่งที่กระทำต่อวัตถุ แล้วทําให้วัตถุเปลี่ยนแปลงจากสภาพเดิม โดยอาจจะสัมผัสกับวัตถุหรือไม่สัมผัสวัตถุก็ได้ แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทั้งขนาดและทิศทาง หน่วยของแรง คือ นิวตัน ( N ) ซึ่งแรงมีหลายชนิด ได้แก่ แรงดึง ที่ทำให้วัตถุยืดออกหรือแยกจากกัน แรงอัดหรือแรงกด ที่ทำให้วัตถุถูกบีบตัว แรงบิด
Reading Time: < 1 minute สรุปเนื้อหาเรื่อง การเคลื่อนที่แนวโค้ง การเคลื่อนที่แบบวิถีโค้ง หรือการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ คือ การเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีแรงกระทำทำมุมใดๆ กับความเร็ว โดยมุมกระทำนั้นไม่คงที่ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จะได้ลักษณะการเคลื่อนที่เป็น โค้งพาราโบลาซึ่งมีการขจัดเกิดขึ้น 2 แนวพร้อมกันคือ แนวราบและแนวดิ่ง ดังนั้น ความเร็วขณะใด ๆ ของการเคลื่อนที่จะต้องประกอบด้วยความเร็ว 2 แนว คือ แนวราบ ( V )
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง ของไหล คืออะไร ของไหล หรือ Fluids คือ สสารที่สามารถไหลได้โดยมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ เมื่ออยู่ในสภาวะสมดุล ของไหลจะไม่สามารถรับแรงเฉือนได้และของไหลทุกชนิดจะยุบตัวตามความกดดันได้เล็กน้อย ซึ่งในที่นี้ก็คือของเหลวและแก๊ส สมบัติพื้นฐานของของไหล ความหนาแน่น (Density, p ) คือ มวลสารต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ความหนาแน่นเป็นลักษณะหนึ่งซึ่งแสดงถึงคุณสมบัติเชิงกายภาพของสสาร ในการศึกษากลศาสตร์ของไหลเบื้องตัน (ที่ของไหลมีความเร็วต่ำกว่าความเร็วเสียงมาก) สามารถกำหนดให้ความหนาแน่นของของไหลเป็นค่าคงตัวได้ ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Relative
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย คืออะไร การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย หรือ Simple Harmonic Motion : SHM คือ การเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำทางเดิมโดยผ่านตำแหน่งสมดุล และมีคาบของการเคลื่อนที่คงตัว เช่น การเคลื่อนที่ของวัตถุติดปลายสปริง การสั่นของสายเครื่องดนตรี การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา ปริมาณที่ต้องรู้ สำหรับเรื่องการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย ความถี่ (f) คือ จำหน่วยรอบของการเคลื่อนที่ใน 1 วินาที
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา คลื่นกล คืออะไร คลื่นกล หรือ Mechanics wave คือ คลื่นที่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น คลื่นเส้นเชือก คลื่นสปริง หรือคลื่นผิวน้ำ ชนิดของคลื่น แบ่งตามลักษณะการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลางขณะคลื่นเคลื่อนที่ผ่าน ได้แก่ คลื่นตามยาว ซึ่งเป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นในสปริง คลื่นเสียง เป็นต้น คลื่นตามขวาง เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น
CHULA TUTOR
MBK 4th floor, Phayathai Road, Wangmai, Pathumwan, Bangkok 10330
Business hours
MONDAY – FRIDAY 10:00AM – 08.30PM
SATURDAY – SUNDAY 09:00AM – 06.00PM
REVIEWS