Reading Time: 2 minutes ระบบหมุนเวียนเลือดของสิ่งมีชีวิต แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด (open circulatory system) ระบบนี้บางช่วงเลือดจะไหลไปตามช่องว่างของลำตัวและช่องว่างระหว่างอวัยวะ กล่าวคือ เลือดไม่ได้ไหลอยู่ในเส้นเลือดตลอดเวลา เลือดออกจากหลอดเลือดเข้าสู่ฮีโมซีล ซึ่งอยู่รวมกับของเหลวอื่น ๆ (น้ำเหลือง) เรียกว่า ฮีโมลิมฟ์ ซึ่งระบบหมุนเวียนเลือดแบบนี้จะพบในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมอาร์โทรโพดาและมอลลัสกา (ยกเว้นหมึก หมึกยักษ์ และหอยงวงช้าง) 2. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด
Reading Time: 2 minutes ระบบต่อมไร้ท่อ หรือ endocrine system ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ สร้างและหลั่งพวกฮอร์โมน (Hormones) แล้วส่งออกนอกตัวเซลล์โดยผ่านทางกระแสเลือด หรือน้ำเหลืองไปยังเป้าหมาย คือ อวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย ต่อมไร้ท่อบางชนิดสร้างฮอร์โมน ออกมาร่วมทำงาน หรือถูกควบคุมการหลั่งโดยระบบประสาท เรียกว่า neuroendocrine system ระบบต่อมไร้ท่อ มีความสำคัญในการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเกี่ยวกับกระบวนการเมตาบอลิซึมต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น การควบคุมปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์ การขนส่งสารเข้าออกภายในเซลล์
Reading Time: 2 minutes การแบ่งเซลล์ คืออะไร การแบ่งเซลล์ หรือ Cell Division คือ การเพิ่มจำนวนของเซลล์ (cell) ในสิ่งมีชีวิต เพื่อการเจริญเติบโตและรักษา ซ่อมแซมร่างกายส่วนที่สึกหรอ รวมถึงสร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่คงไว้ซึ่งสารพันธุกรรม ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมลักษณะ และการแสดงออกที่เป็นเอกลักษณ์ของชนิดพันธุ์ ซึ่งกระบวนการแบ่งเซลล์สามารถแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ การแบ่งนิวเคลียส (Karyokinesis) การแบ่งตัวของไซโทพลาซึม (Cytokinesis) การแบ่งนิวเคลียส
Reading Time: 2 minutes กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ วิธีการและขั้นตอนที่ใช้ดำเนินการค้นคว้าหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ วิธีการทางวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์ (scientific method) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (science process skill) จิตวิทยาศาสตร์ (scientific mind) โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นั้นประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ สามารถสรุปเป็นแผนผังดังนี้ ในขั้นตอนของการตั้งสมมติฐานนั้น การควบคุมปัจจัยถือเป็นสิ่งที่สำคัญ
Reading Time: 2 minutes วิวัฒนาการ คืออะไร วิวัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเปลี่ยนไปจากบรรพบุรุษ และสามารถ ถ่ายทอดลักษณะนี้ไปยังรุ่นต่อไป ท าให้ลูกหลานที่เกิดขึ้นมีลักษณะแตกต่างจากบรรพบุรุษ และถูก คัดเลือกให้มีชีวิตอยู่รอดในสภาพแวดล้อมที่ต่างกันในระยะเวลาที่ยาวนาน หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ซากดึกดำบรรพ์ / ฟอสซิล หลักฐานจากกายวิภาคเปรียบเทียบ ได้แก่ โครงสร้างที่มีลักษณะคล้ายกัน แต่ทำหน้าที่ต่างกัน เรียกว่า homologous structure โครงสร้างที่ทำหน้าที่เดียวกัน แต่มีโครงสร้างต่างกัน
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต นักวิชาการได้ แบ่งความหลากหลายบนโลกใบนี้ไว้ใน 3 ระดับคือ ความหลากหลายในระดับนิเวศ (Ecological diversity) กล่าวคือ สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน มีพันธุกรรมแบบเดียวกัน แต่เมื่ออาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ก็ทำให้มีความแตกต่างกันได้ เช่น แบคทีเรีย E. coli ที่มียีน LacZ เมื่อ เลี้ยงในอาหารที่มีกลูโคสสูงผสมสารโครงสร้างคล้าย (analog) กาแลคโตส (x-gal)
Reading Time: 2 minutes เนื้อเยื่อของพืชดอก (Plant tissue) แบ่งตามความสามารถในการแบ่งเซลล์ได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. เนื้อเยื่อเจริญ (Meristematic tissue หรือ Meristem) คือ เนื้อเยื่อที่สามารถแบ่งเซลล์ได้ตลอดชีวิต ซึ่งแบ่งได้เป็น 1.1 เนื้อเยื่อเจริญที่ทำให้เกิดการเจริญเติบโตขั้นแรก (primary growth) ทำให้ต้นไม้ สูงขึ้น ๆ ซึ่งแบ่งได้เป็นการเจริญส่วนปลาย (apical
Reading Time: 2 minutes พันธุศาสตร์ คืออะไร พันธุศาสตร์ คือ สาขาหนึ่งของชีววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับยีน การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และความหลากหลายทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต คำศัพท์ที่ควรรู้ ยีน (gene) คือ สิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม โดยยีน คือส่วนหนึ่ง DNA DNA คือ สารพันธุ์กรรม ยีนเด่น (dominant gene) คือ ยีนที่แสดงอาการข่ม ต่อ
Reading Time: 4 minutes ระบบนิเวศ คืออะไร ระบบนิเวศ หรือ ecosystem คือ การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในหนึ่งหน่วยพื้นที่ ซึ่งก่อให้เกิดความสัมพันธ์ต่อสิ่งมีชีวิตด้วยกันเองและปฏิสัมพันธ์ต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนของสสารจากธรรมชาติสู่สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ องค์ประกอบของระบบนิเวศ มีอะไรบ้าง ระบบนิเวศมีองค์ประกอบ 2 ส่วน ได้แก่ 1. องค์ประกอบทางชีวภาพ (biological component) คือ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ เช่น พืช
Reading Time: 2 minutes การสังเคราะห์ด้วยแสง คืออะไร การสังเคราะห์แสง หรือ Photosynthesis คือ กระบวนการที่สิ่งมีชีวิตเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานเคมี โดยเก็บสะสมไว้ในสารอินทรีย์ที่สิ่งมีชีวิตสร้างขึ้น และพลังงานเคมีที่สร้างขึ้นนี้จัดว่าเป็นแหล่งพลังงานที่สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในโลกนี้ได้ใช้ประโยชน์ โดยมีสมการรวมของกระบวนการสังเคราะห์แสง คือ 6CO2 + 12H2O + พลังงานแสงและคลอโรฟิลล์ → C6H12O6 + 6O2 + 6H2O การสังเคราะห์ด้วยแสง เกิดขึ้นที่ไหน การสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นได้ในทุกส่วนของต้นพืชที่มีสีเขียว โดยมีใบเป็นส่วนที่ทำหน้าที่นี้โดยตรง
Reading Time: 2 minutes ระบบหมุนเวียนเลือดของสิ่งมีชีวิต แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด (open circulatory system) ระบบนี้บางช่วงเลือดจะไหลไปตามช่องว่างของลำตัวและช่องว่างระหว่างอวัยวะ กล่าวคือ เลือดไม่ได้ไหลอยู่ในเส้นเลือดตลอดเวลา เลือดออกจากหลอดเลือดเข้าสู่ฮีโมซีล ซึ่งอยู่รวมกับของเหลวอื่น ๆ (น้ำเหลือง) เรียกว่า ฮีโมลิมฟ์ ซึ่งระบบหมุนเวียนเลือดแบบนี้จะพบในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัมอาร์โทรโพดาและมอลลัสกา (ยกเว้นหมึก หมึกยักษ์ และหอยงวงช้าง) 2. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด
Reading Time: 2 minutes ระบบต่อมไร้ท่อ หรือ endocrine system ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ สร้างและหลั่งพวกฮอร์โมน (Hormones) แล้วส่งออกนอกตัวเซลล์โดยผ่านทางกระแสเลือด หรือน้ำเหลืองไปยังเป้าหมาย คือ อวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย ต่อมไร้ท่อบางชนิดสร้างฮอร์โมน ออกมาร่วมทำงาน หรือถูกควบคุมการหลั่งโดยระบบประสาท เรียกว่า neuroendocrine system ระบบต่อมไร้ท่อ มีความสำคัญในการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเกี่ยวกับกระบวนการเมตาบอลิซึมต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น การควบคุมปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์ การขนส่งสารเข้าออกภายในเซลล์
Reading Time: 2 minutes การแบ่งเซลล์ คืออะไร การแบ่งเซลล์ หรือ Cell Division คือ การเพิ่มจำนวนของเซลล์ (cell) ในสิ่งมีชีวิต เพื่อการเจริญเติบโตและรักษา ซ่อมแซมร่างกายส่วนที่สึกหรอ รวมถึงสร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่คงไว้ซึ่งสารพันธุกรรม ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมลักษณะ และการแสดงออกที่เป็นเอกลักษณ์ของชนิดพันธุ์ ซึ่งกระบวนการแบ่งเซลล์สามารถแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ การแบ่งนิวเคลียส (Karyokinesis) การแบ่งตัวของไซโทพลาซึม (Cytokinesis) การแบ่งนิวเคลียส
Reading Time: 2 minutes กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ วิธีการและขั้นตอนที่ใช้ดำเนินการค้นคว้าหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ วิธีการทางวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์ (scientific method) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (science process skill) จิตวิทยาศาสตร์ (scientific mind) โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นั้นประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ สามารถสรุปเป็นแผนผังดังนี้ ในขั้นตอนของการตั้งสมมติฐานนั้น การควบคุมปัจจัยถือเป็นสิ่งที่สำคัญ
Reading Time: 2 minutes วิวัฒนาการ คืออะไร วิวัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเปลี่ยนไปจากบรรพบุรุษ และสามารถ ถ่ายทอดลักษณะนี้ไปยังรุ่นต่อไป ท าให้ลูกหลานที่เกิดขึ้นมีลักษณะแตกต่างจากบรรพบุรุษ และถูก คัดเลือกให้มีชีวิตอยู่รอดในสภาพแวดล้อมที่ต่างกันในระยะเวลาที่ยาวนาน หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ซากดึกดำบรรพ์ / ฟอสซิล หลักฐานจากกายวิภาคเปรียบเทียบ ได้แก่ โครงสร้างที่มีลักษณะคล้ายกัน แต่ทำหน้าที่ต่างกัน เรียกว่า homologous structure โครงสร้างที่ทำหน้าที่เดียวกัน แต่มีโครงสร้างต่างกัน
Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต นักวิชาการได้ แบ่งความหลากหลายบนโลกใบนี้ไว้ใน 3 ระดับคือ ความหลากหลายในระดับนิเวศ (Ecological diversity) กล่าวคือ สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน มีพันธุกรรมแบบเดียวกัน แต่เมื่ออาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ก็ทำให้มีความแตกต่างกันได้ เช่น แบคทีเรีย E. coli ที่มียีน LacZ เมื่อ เลี้ยงในอาหารที่มีกลูโคสสูงผสมสารโครงสร้างคล้าย (analog) กาแลคโตส (x-gal)
Reading Time: 2 minutes เนื้อเยื่อของพืชดอก (Plant tissue) แบ่งตามความสามารถในการแบ่งเซลล์ได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. เนื้อเยื่อเจริญ (Meristematic tissue หรือ Meristem) คือ เนื้อเยื่อที่สามารถแบ่งเซลล์ได้ตลอดชีวิต ซึ่งแบ่งได้เป็น 1.1 เนื้อเยื่อเจริญที่ทำให้เกิดการเจริญเติบโตขั้นแรก (primary growth) ทำให้ต้นไม้ สูงขึ้น ๆ ซึ่งแบ่งได้เป็นการเจริญส่วนปลาย (apical
Reading Time: 2 minutes พันธุศาสตร์ คืออะไร พันธุศาสตร์ คือ สาขาหนึ่งของชีววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับยีน การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และความหลากหลายทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต คำศัพท์ที่ควรรู้ ยีน (gene) คือ สิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม โดยยีน คือส่วนหนึ่ง DNA DNA คือ สารพันธุ์กรรม ยีนเด่น (dominant gene) คือ ยีนที่แสดงอาการข่ม ต่อ
Reading Time: 4 minutes ระบบนิเวศ คืออะไร ระบบนิเวศ หรือ ecosystem คือ การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในหนึ่งหน่วยพื้นที่ ซึ่งก่อให้เกิดความสัมพันธ์ต่อสิ่งมีชีวิตด้วยกันเองและปฏิสัมพันธ์ต่อสิ่งแวดล้อม เกิดการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนของสสารจากธรรมชาติสู่สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ องค์ประกอบของระบบนิเวศ มีอะไรบ้าง ระบบนิเวศมีองค์ประกอบ 2 ส่วน ได้แก่ 1. องค์ประกอบทางชีวภาพ (biological component) คือ สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ เช่น พืช
Reading Time: 2 minutes การสังเคราะห์ด้วยแสง คืออะไร การสังเคราะห์แสง หรือ Photosynthesis คือ กระบวนการที่สิ่งมีชีวิตเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานเคมี โดยเก็บสะสมไว้ในสารอินทรีย์ที่สิ่งมีชีวิตสร้างขึ้น และพลังงานเคมีที่สร้างขึ้นนี้จัดว่าเป็นแหล่งพลังงานที่สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในโลกนี้ได้ใช้ประโยชน์ โดยมีสมการรวมของกระบวนการสังเคราะห์แสง คือ 6CO2 + 12H2O + พลังงานแสงและคลอโรฟิลล์ → C6H12O6 + 6O2 + 6H2O การสังเคราะห์ด้วยแสง เกิดขึ้นที่ไหน การสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นได้ในทุกส่วนของต้นพืชที่มีสีเขียว โดยมีใบเป็นส่วนที่ทำหน้าที่นี้โดยตรง
CHULA TUTOR
MBK 4th floor, Phayathai Road, Wangmai, Pathumwan, Bangkok 10330
Business hours
MONDAY – FRIDAY 10:00AM – 08.30PM
SATURDAY – SUNDAY 09:00AM – 06.00PM
REVIEWS