เคมี ม.ปลาย

Dig deeper into :
เคมี ม.ปลาย
เคมี ม.6

เคมี ม.6

Reading Time: < 1 minute เนื้อหา เคมี ม.6 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? สำหรับ เคมี ม.6 จะเรียน เคมี เรื่อง เคมีอินทรีย์ , พอลิเมอร์ , เคมีกับการแก้ปัญหา โดยบทเรียนอาจจะมีการนำเรื่อง เคมี ม.4  เคมี ม.5 บ้างส่วนเช่น ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี , โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ ,

เคมี ม.5

เคมี ม.5

Reading Time: < 1 minute เนื้อหา เคมี ม.5 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? เคมี ม.5 ถือว่าเป็นบทเรียนที่สำคัญมาก เพราะจะเป็นพื้นฐานสำหรับการเรียน เคมี ม.6 โดยน้องๆ ม.5 จะเรียน เคมี เรื่อง แก๊สและสมบัติของแก๊ส , อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี , สมดุลเคมี , กรด-เบส , เคมีไฟฟ้า ซึ่งบ้างบทจะเป็นการต่อยอดความรู้ใน

เคมี ม.4

เคมี ม.4

Reading Time: < 1 minute เนื้อหา เคมี ม.4 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? เคมี ม.4 ถือว่าเป็นบทเรียนที่สำคัญมาก เพราะจะเป็นพื้นฐานสำหรับการเรียน เคมี ม.5 , เคมี ม.6 โดยน้องๆ ม.4 จะเรียนพื้นฐานของเคมี เรื่อง ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี , โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ , พันธะเคมี , โมลและสูตรเคมี ,

เคมีกับการแก้ปัญหา

เคมีกับการแก้ปัญหา

Reading Time: < 1 minute เคมีกับการแก้ปัญหา คืออะไร เคมีกับการแก้ปัญหา คือ การนำความรู้ทางเคมีที่เราได้เรียนมานำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ การสังเกตุและระบุปัญหา ซึ่งแน่นอนว่าจะต้องมีปัญหาเกิดขึ้นก่อน เช่น ปลาในแหล่งน้ำตายเป็นจำนวนมากผิดปกติ ตั้งสมมติฐาน ซึ่งก็คือ การทำนายหรือการคาดคะเนคำตอบของปัญหานั้นล่วงหน้าแล้วว่าคืออะไร ซึ่งแน่นอนว่าในขั้นตอนนี้ หากเรามีความรู้ทางด้านเคมีอย่างครบถ้วน ก็จำทพให้คาดคะเนได้อย่างมีเหตุมีผล เช่น ที่ปลาในแหล่งน้ำตายเป็นจำนวนมาก น่าจะมาจากอากาศ โรคติดต่อ หรือสภาพของน้ำที่เน่าเสีย

สารชีวโมเลกุล

เคมี สารชีวโมเลกุล

Reading Time: < 1 minute สรุปเนื้อหา สารชีวโมเลกุล คืออะไร สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) คือ สารที่พบได้ในสิ่งมีชีวิตทั่วไป โดยมีธาตุคาร์บอนด์ ไฮโดรเจน และออกซิเจนเป็นองค์ประกอบหลัก เช่น ไขมันและน้ำมัน กรดไขมัน โปรตีน เอนไซม์ และคาร์โบไฮเดรต   1. คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) เป็นสารชีวโมเลกุลที่มีรากศัพท์มาจากคำว่าคาร์บอน(carbon) และคำว่า ไฮเดรต(hydrate) อิ่มตัวไปด้วยน้ำ ซึ่งรวมกันก็หมายถึงคาร์บอนที่อิมตัวไปด้วยน้ำ

แก๊สและสมบัติของแก๊ส

เคมี แก๊สและสมบัติของแก๊ส

Reading Time: 3 minutes แก๊ส คืออะไร แก๊ส เป็นสถานะอย่างหนึ่งของสสาร ลักษณะของแก๊สจะไม่มีรูปร่างหรือปริมาตรที่แน่นอน มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย ทำให้มีการฟุ้งกระจาย เพราะโมเลกุลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วและไม่มีทิศทางที่แน่นอน เมื่อเคลื่อนที่ไปชนกับผนังภาชนะ จะทำให้เกิดความดัน สามารถถูกอัดได้ง่ายและมากกว่าของเหลว ถ้าแก๊สมีการเปลี่ยนอุณหภูมิและความดันก็จะทำให้ปริมาตรเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยปริมาตรของแก๊สจะแปลผกผันกับความดันที่มากระทำ และเมื่อนำแก๊สหลายชนิดมาใส่ในภาชนะเดียวกัน ก็จะเกิดการรวมกันเป็นเนื้อเดียวอย่างสมบูรณ์   สมบัติของแก๊ส 1. แก๊สมีรูปร่างเป็นปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ เมื่อบรรจุในภาชนะใดก็จะมีรูปร่างเป็นปริมาตรตามภาชนะนั้น เช่น ถ้าบรรจุในภาชนะทรงกลมขนาด 1 ลิตร

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

เคมี เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ คืออะไร เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ หมายถึง เชื้อเพลิงที่เปลี่ยนสภาพจากสิ่งมีชีวิตในยุคต่างๆ โดยกระบวนการทางธรณีวิทยาและธรณีเคมี เช่น น้ำมัน แก๊ส ถ่านหิน 1. ถ่านหิน มีองค์ประกอบหลัก คือ ธาตุคาร์บอน และธาตุอื่น ๆ เช่น ออกซิเจน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และกำมะถัน และอาจมีธาตุ ปรอท

พอลิเมอร์

เคมี พอลิเมอร์

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา พอลิเมอร์ คืออะไร พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วย หน่วยเล็ก ๆ ของสารที่อาจจะเหมือนกันหรือต่างกันมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ ซึ่งหน่วยเล็ก ๆ ของสารในพอลิเมอร์นั้นเรียกว่า มอนอเมอร์ (Monomer)   พอลิเมอร์ มี่กี่ประเภท 1. กรณีแบ่งตามแหล่งกำเนิดของพอลิเมอร์ จะมี 2 ประเภท ได้แก่ 1.1

เคมีอินทรีย์

เคมี เคมีอินทรีย์

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา เคมีอินทรีย์ คืออะไร เคมีอินทรีย์ คือ การศึกษาเกี่ยวกับชนิด สมบัติ การสังเคราะห์และปฏิกิริยาของสารประกอบอินทรีย์ โดยสารอินทรีย์ คือ สารที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลัก และมีธาตุอื่น ๆ เป็นองค์ประกอบร่วม ดังนั้น “สารประกอบอินทรีย์” จึงหมายถึง สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบทั้งที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตและเกิดจากการสังเคราะห์จากสิ่งไม่มีชีวิต ยกเว้น ออกไซด์ของคาร์บอน เช่น CO2, CO เกลือคาร์บอเนต และไฮโดรเจนคาร์บอเนต

ไฟฟ้าเคมี

เคมี ไฟฟ้าเคมี

Reading Time: < 1 minute สรุปเนื้อหา ไฟฟ้าเคมี คืออะไร ไฟฟ้าเคมี เป็นการศึกษาเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามการถ่ายเทของอิเล็กตรอน คือ ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทอิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction) และปฏิกิริยาที่ไม่มีการถ่ายเทอิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยานอนรีดอกซ์ (Nonredox Reaction)   โดยปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction) ก็คือ

เคมี ม.6

เคมี ม.6

Reading Time: < 1 minute เนื้อหา เคมี ม.6 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? สำหรับ เคมี ม.6 จะเรียน เคมี เรื่อง เคมีอินทรีย์ , พอลิเมอร์ , เคมีกับการแก้ปัญหา โดยบทเรียนอาจจะมีการนำเรื่อง เคมี ม.4  เคมี ม.5 บ้างส่วนเช่น ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี , โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ ,

เคมี ม.5

เคมี ม.5

Reading Time: < 1 minute เนื้อหา เคมี ม.5 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? เคมี ม.5 ถือว่าเป็นบทเรียนที่สำคัญมาก เพราะจะเป็นพื้นฐานสำหรับการเรียน เคมี ม.6 โดยน้องๆ ม.5 จะเรียน เคมี เรื่อง แก๊สและสมบัติของแก๊ส , อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี , สมดุลเคมี , กรด-เบส , เคมีไฟฟ้า ซึ่งบ้างบทจะเป็นการต่อยอดความรู้ใน

เคมี ม.4

เคมี ม.4

Reading Time: < 1 minute เนื้อหา เคมี ม.4 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? เคมี ม.4 ถือว่าเป็นบทเรียนที่สำคัญมาก เพราะจะเป็นพื้นฐานสำหรับการเรียน เคมี ม.5 , เคมี ม.6 โดยน้องๆ ม.4 จะเรียนพื้นฐานของเคมี เรื่อง ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี , โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ , พันธะเคมี , โมลและสูตรเคมี ,

เคมีกับการแก้ปัญหา

เคมีกับการแก้ปัญหา

Reading Time: < 1 minute เคมีกับการแก้ปัญหา คืออะไร เคมีกับการแก้ปัญหา คือ การนำความรู้ทางเคมีที่เราได้เรียนมานำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ การสังเกตุและระบุปัญหา ซึ่งแน่นอนว่าจะต้องมีปัญหาเกิดขึ้นก่อน เช่น ปลาในแหล่งน้ำตายเป็นจำนวนมากผิดปกติ ตั้งสมมติฐาน ซึ่งก็คือ การทำนายหรือการคาดคะเนคำตอบของปัญหานั้นล่วงหน้าแล้วว่าคืออะไร ซึ่งแน่นอนว่าในขั้นตอนนี้ หากเรามีความรู้ทางด้านเคมีอย่างครบถ้วน ก็จำทพให้คาดคะเนได้อย่างมีเหตุมีผล เช่น ที่ปลาในแหล่งน้ำตายเป็นจำนวนมาก น่าจะมาจากอากาศ โรคติดต่อ หรือสภาพของน้ำที่เน่าเสีย

สารชีวโมเลกุล

เคมี สารชีวโมเลกุล

Reading Time: < 1 minute สรุปเนื้อหา สารชีวโมเลกุล คืออะไร สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) คือ สารที่พบได้ในสิ่งมีชีวิตทั่วไป โดยมีธาตุคาร์บอนด์ ไฮโดรเจน และออกซิเจนเป็นองค์ประกอบหลัก เช่น ไขมันและน้ำมัน กรดไขมัน โปรตีน เอนไซม์ และคาร์โบไฮเดรต   1. คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) เป็นสารชีวโมเลกุลที่มีรากศัพท์มาจากคำว่าคาร์บอน(carbon) และคำว่า ไฮเดรต(hydrate) อิ่มตัวไปด้วยน้ำ ซึ่งรวมกันก็หมายถึงคาร์บอนที่อิมตัวไปด้วยน้ำ

แก๊สและสมบัติของแก๊ส

เคมี แก๊สและสมบัติของแก๊ส

Reading Time: 3 minutes แก๊ส คืออะไร แก๊ส เป็นสถานะอย่างหนึ่งของสสาร ลักษณะของแก๊สจะไม่มีรูปร่างหรือปริมาตรที่แน่นอน มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย ทำให้มีการฟุ้งกระจาย เพราะโมเลกุลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วและไม่มีทิศทางที่แน่นอน เมื่อเคลื่อนที่ไปชนกับผนังภาชนะ จะทำให้เกิดความดัน สามารถถูกอัดได้ง่ายและมากกว่าของเหลว ถ้าแก๊สมีการเปลี่ยนอุณหภูมิและความดันก็จะทำให้ปริมาตรเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยปริมาตรของแก๊สจะแปลผกผันกับความดันที่มากระทำ และเมื่อนำแก๊สหลายชนิดมาใส่ในภาชนะเดียวกัน ก็จะเกิดการรวมกันเป็นเนื้อเดียวอย่างสมบูรณ์   สมบัติของแก๊ส 1. แก๊สมีรูปร่างเป็นปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ เมื่อบรรจุในภาชนะใดก็จะมีรูปร่างเป็นปริมาตรตามภาชนะนั้น เช่น ถ้าบรรจุในภาชนะทรงกลมขนาด 1 ลิตร

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

เคมี เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ คืออะไร เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ หมายถึง เชื้อเพลิงที่เปลี่ยนสภาพจากสิ่งมีชีวิตในยุคต่างๆ โดยกระบวนการทางธรณีวิทยาและธรณีเคมี เช่น น้ำมัน แก๊ส ถ่านหิน 1. ถ่านหิน มีองค์ประกอบหลัก คือ ธาตุคาร์บอน และธาตุอื่น ๆ เช่น ออกซิเจน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และกำมะถัน และอาจมีธาตุ ปรอท

พอลิเมอร์

เคมี พอลิเมอร์

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา พอลิเมอร์ คืออะไร พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วย หน่วยเล็ก ๆ ของสารที่อาจจะเหมือนกันหรือต่างกันมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ ซึ่งหน่วยเล็ก ๆ ของสารในพอลิเมอร์นั้นเรียกว่า มอนอเมอร์ (Monomer)   พอลิเมอร์ มี่กี่ประเภท 1. กรณีแบ่งตามแหล่งกำเนิดของพอลิเมอร์ จะมี 2 ประเภท ได้แก่ 1.1

เคมีอินทรีย์

เคมี เคมีอินทรีย์

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา เคมีอินทรีย์ คืออะไร เคมีอินทรีย์ คือ การศึกษาเกี่ยวกับชนิด สมบัติ การสังเคราะห์และปฏิกิริยาของสารประกอบอินทรีย์ โดยสารอินทรีย์ คือ สารที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลัก และมีธาตุอื่น ๆ เป็นองค์ประกอบร่วม ดังนั้น “สารประกอบอินทรีย์” จึงหมายถึง สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบทั้งที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตและเกิดจากการสังเคราะห์จากสิ่งไม่มีชีวิต ยกเว้น ออกไซด์ของคาร์บอน เช่น CO2, CO เกลือคาร์บอเนต และไฮโดรเจนคาร์บอเนต

ไฟฟ้าเคมี

เคมี ไฟฟ้าเคมี

Reading Time: < 1 minute สรุปเนื้อหา ไฟฟ้าเคมี คืออะไร ไฟฟ้าเคมี เป็นการศึกษาเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามการถ่ายเทของอิเล็กตรอน คือ ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทอิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction) และปฏิกิริยาที่ไม่มีการถ่ายเทอิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยานอนรีดอกซ์ (Nonredox Reaction)   โดยปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction) ก็คือ