fbpx

เคมี ม.ปลาย

Dig deeper into :
เคมี ม.ปลาย
กรด-เบส

เคมี กรด-เบส

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหา กรด-เบส คืออะไร นิยามของ กรด-เบส นั้น มีหลายแนวคิดด้วยกัน ดังนี้ 1. Arrhenius Concept มีใจความว่า “กรด คือ สารประกอบที่มี H และเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้ H+ หรือ H3O+ ส่วนเบส คือ สารประกอบที่มี OH และเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้

สมดุลเคมี

เคมี สมดุลเคมี

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา สมดุลเคมี คืออะไร สมดุลเคมี คือ สภาวะที่ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนแปลงอีกแม้เวลาผ่านไป ซึ่งเราจะเรียกว่า “ปฏิกิริยาเคมีนั้นอยู่ในสมดุล (equilibrium)” ทั้งนี้ การดำเนินไปของปฏิริยาไม่ได้สิ้นสุดลง แต่ระบบยังคงมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เรียกว่า สมดุลไดนามิก (dynamic equilibrium) การเปลี่ยนแปลงของระบบดังกล่าว ในทางวิทยาศาสตร์นั้นจะมี 3 รูปแบบ คือ การเปลี่ยนสถานะ, การละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งจำแนกเป็น

ปริมาณสารสัมพันธ์

เคมี ปริมาณสารสัมพันธ์

Reading Time: 3 minutes ปริมาณสารสัมพันธ์ คืออะไร ปริมาณสารสัมพันธ์ (Stoichiometry) มาจากการผสมภาษากรีก โดยคำว่า “stoicheion แปลว่า ธาตุ” ส่วนคำว่า “metron แปลว่า การวัด” ดังนั้น ปริมาณสารสัมพันธ์ จึงหมายถึง การวัดปริมาณของสารต่าง ๆ โดยเฉพาะปริมาณของสารที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทั้งของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ตลอดจนปริมาณของพลังงานของสารที่เปลี่ยนแปลงในปฏิกิริยาเคมี   สรุปเนื้อหา ปริมาณสารสัมพันธ์ การศึกษาเรื่องปริมาณสารสัมพันธ์ (Stoichiometry) จะช่วยให้สามารถคาดคะเนหรือคำนวณปริมาณของสารที่ต้องใช้เป็นสารตั้งต้น

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

เคมี ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา ของแข็ง ของเหลว แก๊ส คืออะไร ของแข็ง ของเหลว แก๊ส คือ สถานะของสาร ซึ่งสารในธรรมชาตินั้นจะแบ่งออกเป็น 3 สถานะนี้ ได้แก่ 1. ของแข็ง เป็นสถานะที่อนุภาคจะอยู่ชิดกัน และไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ ทำให้แรงยึดเหนี่ยวอนุภาคสูงกว่าสารเดียวกันในสถานะอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีรูปร่างและปริมาตรคงที่แน่นอน ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามรูปทรงของภาชนะที่บรรจุ ตัวอย่างของสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง เช่น เหล็ก

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

เคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

Reading Time: 2 minutes อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คืออะไร อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คือ ความเร็วที่ตัวทำปฏิกิริยาเปลี่ยนไปเป็นสารผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยเวลา โดยที่หน่วยความเข้มข้นของสารเป็น mol/dm3 ดังนั้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจึงมีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารต่อวินาที ชั่วโมง หรือวัน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยาเกิดเร็วหรือช้านั่นเอง   สรุปเนื้อหา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถจำแนกตามชนิดของปฏิกิริยา ได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1. ปฏิกิริยาเนื้อเดียว (homogeneous

เคมี ม.ปลาย

เคมี ม.ปลาย ม.4 ม.5 ม.6 เรียนเรื่องอะไรบ้าง?

Reading Time: < 1 minute เคมี ม.ปลาย ม.4 ม.5 ม.6 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? เคมี ม.4 เทอม 1 ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ พันธะเคมี เคมี ม.4 เทอม 2 โมลและสูตรเคมี สารละลาย ปริมาณสัมพันธ์ เคมี ม.5 เทอม 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส

โมลและสูตรเคมี

เคมี โมลและสูตรเคมี

Reading Time: 2 minutes เนื้อหาสรุป โมลและสูตรเคมี โมล (mole หรือ mol) เป็นหน่วยเรียกในระบบ SI โดยสัญลักษณ์ของโมล คือ mol หมายถึง ปริมาณสารที่ประกอบไปด้วยอนุภาค (อะตอม โมเลกุล หรืออนุภาคอื่น) เท่ากับจำนวนอะตอมของไอโซโทป C-12 จำนวน 12 กรัม ซึ่งได้ว่า 1 mole =

พันธะเคมี

เคมี พันธะเคมี

Reading Time: 2 minutes พันธะเคมี คืออะไร พันธะเคมี คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นจากการดึงดูดเข้าหากันระหว่างอนุภาคมูลฐานหรืออะตอม (Atom) ทั้งนี้ ก็เพื่อสร้างเสถียรภาพในระดับโมเลกุล จนเกิดเป็นสสารหรือสารประกอบที่มีโครงสร้างขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมากขึ้นในธรรมชาติ   สรุปเนื้อหา พันธะเคมี อะตอมและธาตุต่าง ๆ ที่ถูกพบในธรรมชาติกว่า 90 ชนิด มักจะไม่มีความสเถียร (ยกเว้น ธาตุในหมู่ VIIIA หรือก๊าซเฉื่อยเท่านั้นที่มีความสเถียร สามารถคงรูปเป็นอะตอมอิสระได้ เพราะธาตุดังกล่าวมีอิเล็กตรอนวงนอกสุดเต็มตามจำนวนในแต่ละระดับชั้นของพลังงาน หรือเรียกง่าย

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ

เคมี โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหา โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ คืออะไร อะตอม (Atom) เป็นหน่วยพื้นฐานของสสาร ที่ประกอบด้วยอนุภาคพื้นฐาน 3 ชนิด ได้แก่ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ซึ่งข้อสรุปดังกล่าวเกิดจากการที่นักวิทยาศาสตร์ในอดีตได้พยายามศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมอย่างต่อเนื่อง จนเกิดเป็นแนวความคิดและแบบจำลองอะตอมต่าง ๆ มากมายก่อนที่จะนำมาสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับอะตอมในปัจจุบัน โดยเรียงตามวิวัฒนาการของการศึกษา ดังนี้ 1. ประมาณ 500 ปีก่อนคริตักราช แนวความคิดของ ลูซิพปุส

สารละลาย

เคมี สารละลาย

Reading Time: 2 minutes สารละลาย คืออะไร สารละลาย (Solution) คือ สารเนื้อเดียวที่ไม่บริสุทธิ์ ซึ่งเกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปรวมตัวเป็นเนื้อเดียวกัน สามารถแบ่งส่วนประกอบได้ 2 ส่วนคือ ตัวทำละลายและตัวละลาย โดยตัวทำละลายจะเป็นสารที่มีความสามารถในการทำให้สารอื่นๆ ละลายได้ โดยไม่ทำปฏิกิริยาเคมี และตัวละลายคือสารที่ถูกตัวทำละลายทำให้ละลาย   สรุปเนื้อหาเรื่อง สารละลาย สารละลายนั้น โดยส่วนใหญ่แล้วจะจำแนกประเภทตามสถานะของสารละลายนั้น ๆ ได้แก่ สารละลายของแข็ง

กรด-เบส

เคมี กรด-เบส

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหา กรด-เบส คืออะไร นิยามของ กรด-เบส นั้น มีหลายแนวคิดด้วยกัน ดังนี้ 1. Arrhenius Concept มีใจความว่า “กรด คือ สารประกอบที่มี H และเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้ H+ หรือ H3O+ ส่วนเบส คือ สารประกอบที่มี OH และเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้

สมดุลเคมี

เคมี สมดุลเคมี

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา สมดุลเคมี คืออะไร สมดุลเคมี คือ สภาวะที่ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนแปลงอีกแม้เวลาผ่านไป ซึ่งเราจะเรียกว่า “ปฏิกิริยาเคมีนั้นอยู่ในสมดุล (equilibrium)” ทั้งนี้ การดำเนินไปของปฏิริยาไม่ได้สิ้นสุดลง แต่ระบบยังคงมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เรียกว่า สมดุลไดนามิก (dynamic equilibrium) การเปลี่ยนแปลงของระบบดังกล่าว ในทางวิทยาศาสตร์นั้นจะมี 3 รูปแบบ คือ การเปลี่ยนสถานะ, การละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งจำแนกเป็น

ปริมาณสารสัมพันธ์

เคมี ปริมาณสารสัมพันธ์

Reading Time: 3 minutes ปริมาณสารสัมพันธ์ คืออะไร ปริมาณสารสัมพันธ์ (Stoichiometry) มาจากการผสมภาษากรีก โดยคำว่า “stoicheion แปลว่า ธาตุ” ส่วนคำว่า “metron แปลว่า การวัด” ดังนั้น ปริมาณสารสัมพันธ์ จึงหมายถึง การวัดปริมาณของสารต่าง ๆ โดยเฉพาะปริมาณของสารที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทั้งของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ตลอดจนปริมาณของพลังงานของสารที่เปลี่ยนแปลงในปฏิกิริยาเคมี   สรุปเนื้อหา ปริมาณสารสัมพันธ์ การศึกษาเรื่องปริมาณสารสัมพันธ์ (Stoichiometry) จะช่วยให้สามารถคาดคะเนหรือคำนวณปริมาณของสารที่ต้องใช้เป็นสารตั้งต้น

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

เคมี ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหา ของแข็ง ของเหลว แก๊ส คืออะไร ของแข็ง ของเหลว แก๊ส คือ สถานะของสาร ซึ่งสารในธรรมชาตินั้นจะแบ่งออกเป็น 3 สถานะนี้ ได้แก่ 1. ของแข็ง เป็นสถานะที่อนุภาคจะอยู่ชิดกัน และไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ ทำให้แรงยึดเหนี่ยวอนุภาคสูงกว่าสารเดียวกันในสถานะอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีรูปร่างและปริมาตรคงที่แน่นอน ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามรูปทรงของภาชนะที่บรรจุ ตัวอย่างของสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง เช่น เหล็ก

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

เคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

Reading Time: 2 minutes อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คืออะไร อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คือ ความเร็วที่ตัวทำปฏิกิริยาเปลี่ยนไปเป็นสารผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยเวลา โดยที่หน่วยความเข้มข้นของสารเป็น mol/dm3 ดังนั้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจึงมีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารต่อวินาที ชั่วโมง หรือวัน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยาเกิดเร็วหรือช้านั่นเอง   สรุปเนื้อหา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถจำแนกตามชนิดของปฏิกิริยา ได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1. ปฏิกิริยาเนื้อเดียว (homogeneous

เคมี ม.ปลาย

เคมี ม.ปลาย ม.4 ม.5 ม.6 เรียนเรื่องอะไรบ้าง?

Reading Time: < 1 minute เคมี ม.ปลาย ม.4 ม.5 ม.6 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? เคมี ม.4 เทอม 1 ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ พันธะเคมี เคมี ม.4 เทอม 2 โมลและสูตรเคมี สารละลาย ปริมาณสัมพันธ์ เคมี ม.5 เทอม 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส

โมลและสูตรเคมี

เคมี โมลและสูตรเคมี

Reading Time: 2 minutes เนื้อหาสรุป โมลและสูตรเคมี โมล (mole หรือ mol) เป็นหน่วยเรียกในระบบ SI โดยสัญลักษณ์ของโมล คือ mol หมายถึง ปริมาณสารที่ประกอบไปด้วยอนุภาค (อะตอม โมเลกุล หรืออนุภาคอื่น) เท่ากับจำนวนอะตอมของไอโซโทป C-12 จำนวน 12 กรัม ซึ่งได้ว่า 1 mole =

พันธะเคมี

เคมี พันธะเคมี

Reading Time: 2 minutes พันธะเคมี คืออะไร พันธะเคมี คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นจากการดึงดูดเข้าหากันระหว่างอนุภาคมูลฐานหรืออะตอม (Atom) ทั้งนี้ ก็เพื่อสร้างเสถียรภาพในระดับโมเลกุล จนเกิดเป็นสสารหรือสารประกอบที่มีโครงสร้างขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมากขึ้นในธรรมชาติ   สรุปเนื้อหา พันธะเคมี อะตอมและธาตุต่าง ๆ ที่ถูกพบในธรรมชาติกว่า 90 ชนิด มักจะไม่มีความสเถียร (ยกเว้น ธาตุในหมู่ VIIIA หรือก๊าซเฉื่อยเท่านั้นที่มีความสเถียร สามารถคงรูปเป็นอะตอมอิสระได้ เพราะธาตุดังกล่าวมีอิเล็กตรอนวงนอกสุดเต็มตามจำนวนในแต่ละระดับชั้นของพลังงาน หรือเรียกง่าย

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ

เคมี โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหา โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ คืออะไร อะตอม (Atom) เป็นหน่วยพื้นฐานของสสาร ที่ประกอบด้วยอนุภาคพื้นฐาน 3 ชนิด ได้แก่ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ซึ่งข้อสรุปดังกล่าวเกิดจากการที่นักวิทยาศาสตร์ในอดีตได้พยายามศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมอย่างต่อเนื่อง จนเกิดเป็นแนวความคิดและแบบจำลองอะตอมต่าง ๆ มากมายก่อนที่จะนำมาสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับอะตอมในปัจจุบัน โดยเรียงตามวิวัฒนาการของการศึกษา ดังนี้ 1. ประมาณ 500 ปีก่อนคริตักราช แนวความคิดของ ลูซิพปุส

สารละลาย

เคมี สารละลาย

Reading Time: 2 minutes สารละลาย คืออะไร สารละลาย (Solution) คือ สารเนื้อเดียวที่ไม่บริสุทธิ์ ซึ่งเกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปรวมตัวเป็นเนื้อเดียวกัน สามารถแบ่งส่วนประกอบได้ 2 ส่วนคือ ตัวทำละลายและตัวละลาย โดยตัวทำละลายจะเป็นสารที่มีความสามารถในการทำให้สารอื่นๆ ละลายได้ โดยไม่ทำปฏิกิริยาเคมี และตัวละลายคือสารที่ถูกตัวทำละลายทำให้ละลาย   สรุปเนื้อหาเรื่อง สารละลาย สารละลายนั้น โดยส่วนใหญ่แล้วจะจำแนกประเภทตามสถานะของสารละลายนั้น ๆ ได้แก่ สารละลายของแข็ง