เกี่ยวกับ

ครูพี่แนน จุฬาติวเตอร์ ผู้เชี่ยวชาญ TBAT UCAT MCAT CU-ATS

ครูพี่แนน จุฬาติวเตอร์ ผู้เชี่ยวชาญ ข้อสอบ ฟิสิกส์ ไม่ว่าจะเป็น ACT Physics, BMAT Physics, IB Physics, CU-ATS Physics ,ฟิสิกส์ ทั้งหลักสูตรอินเตอร์-ไทย

บทความล่าสุดของ

ครูพี่แนน จุฬาติวเตอร์ ผู้เชี่ยวชาญ TBAT UCAT MCAT CU-ATS

AP

สอบ AP คืออะไร? ค่าสอบ สถานที่สอบมีอะไรบ้าง

Reading Time: 2 minutes สอบ AP คืออะไร ค่าสอบเท่าไหร่ สอบที่ไหน สอบ AP ถือเป็นอีกรูปแบบการสอบที่มีในประเทศไทยสำหรับน้อง ๆ ในระดับมัธยมที่ต้องการเรียนต่อในระดับสูงขึ้นโดยใช้ระยะเวลาอันแสนรวดเร็ว ดังนั้นผู้ปกครองหรือนักเรียนคนไหนเริ่มวางแผนการเรียนของตนเองเอาไว้บ้างแล้ว ลองมาทำความรู้จักกันเลย ค่าสอบราคาเท่าไหร่ สอบที่ไหน คะแนนใช้ทำอะไรได้บ้าง เพื่อตัดสินใจว่าสรุปแล้วควรสอบดีจริงหรือไม่   สอบ AP คืออะไร

ACT Physics

ACT Physics, SAT Physics และ CU-ATS Physics ต่างกันอย่างไร

Reading Time: 3 minutes หัวข้อที่ออกสอบใน ACT Physics เนื้อหาวิชาฟิสิกส์เป็นส่วนหนึ่งที่เราจะต้องเจอในข้อสอบ ACT Science โดยหัวข้อที่มักออกสอบ ได้แก่ Energy and Matter-Laws Interaction, Conservation Radiations Optics Forces Electrostatics Magnetism   ตัวอย่างข้อสอบ

ฟิสิกส์ นิวเคลียร์

ฟิสิกส์นิวเคลียร์ คืออะไร กัมมันตภาพรังสีถูกค้นพบได้อย่างไร

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหา ฟิสิกส์นิวเคลียร์ คืออะไร ฟิสิกส์นิวเคลียร์ คือ สาขาวิชาที่ศึกษาองค์ประกอบต่าง ๆ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันของนิวเคลียสทั้งหลายของอะตอม การประยุกต์ใช้ฟิสิกส์นิวเคลียร์ที่ทราบกันดีที่สุดคือ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์และเทคโนโลยีอาวุธนิวเคลียร์ แต่การวิจัยได้ประยุกต์ไปในหลายสาขา เช่น เวชศาสตร์นิวเคลียร์และการสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก การปลูกฝังไอออนในวิศวกรรมศาสตร์วัสดุ และการหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสีในวิชาภูมิศาสตร์และโบราณคดี อย่างไรก็ตาม สิ่งที่เราต้องรู้จักก่อนในเบื้องต้นคือ นิวเคลียสของอะตอมคืออะไร นิวคลีออนคืออะไร ไอโซโทป

ฟิสิกส์ อะตอม

ฟิสิกส์อะตอม คืออะไร ทฤษฎีอะตอม และ ตัวอย่างข้อสอบเก่า

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหา ฟิสิกส์อะตอม คืออะไร ฟิสิกส์อะตอม คือ การศึกษาโคงรสร้างของอะตอมของธาตุต่างๆ และมีการเจาะลึกลงไปถึงนิวเคลียสและอิเล็กตรอน ที่โคจรอยู่ภายรอบ ซึ่งตั้งแต่ในอดีตก็ได้มีการค้นคว้า ทดลอง จนเกิดเป็นทฤษฎีเกี่ยวกับอะตอมต่าง ๆ มากมาย ดังนี้   แนวคิดกับเรื่องโครงสร้างสสารของดิโมคริตุส “โลกประกอบด้วยสสารและที่ว่าง โดยสสารนั้นประกอบด้วยอะตอมซึ่งเป็นหน่วยที่เล้กที่สุด และไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก สสารแต่ละชนิดประกอบด้วยอะตอมที่มีเนื้อเหมือนกัน

สมดุลกล

สรุป ฟิสิกส์ เรื่อง สมดุลกล คืออะไร พร้อมตัวอย่างข้อสอบ

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง สมดุลกล คืออะไร สมดุลกล (mechanical equilbrium) หรือ สมดุล (equilibrium) หมายถึง วัตถุที่รักษาสภาพการเคลื่อนที่ให้คงเดิม หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งคือ วัตถุอยู่นิ่ง หรือ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ สมดุลกลสามารถแยกได้เป็น 2 แบบ คือ สมดุลสถิต

ความร้อน

สรุป ฟิสิกส์ เรื่อง ความร้อน คืออะไร พร้อมตัวอย่างข้อสอบ

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง ความร้อน คืออะไร ความร้อน เป็นพลังงานรูปหนึ่งที่สามารถทำงานได้ และเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้ หรืออาจจะเปลี่ยนรูปมาจากพลังงานรูปอื่นได้ เช่น พลังงานเคมี พลังงานไฟฟ้า ฯลฯ อีกทั้ง ความร้อนยังเป็นพลังงานซึ่งสามารถถ่ายทอดจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปสู่วัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า และจะถ่ายเทให้กันจนกระทั่งอุณหภูมิเท่ากัน   หน่วยของพลังงานความร้อน จุล (joule, J )

ของแข็งและของไหล

สรุป ฟิสิกส์ เรื่อง ของแข็งและของไหล พร้อมตัวอย่างข้อสอบ

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง ของแข็งและของไหล คืออะไร สสารและสิ่งของต่างๆ ในสภาพปกติทั่วไปจะมี 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลวและแก๊ส ซึ่งของเหลวหรือแก๊สสามารถเรียกว่า ของไหล ได้ เนื่องจากของเหลวและแก๊สสามารถไหลได้นั่นเอง   สภาพยืดหยุ่นของของแข็ง (clasticity) สภาพยืดหยุ่นของของแข็ง คือ สสารในสถานะของแข็งมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมลกุลมากพอที่จะทำให้โมเลกุลของของแข็งอยู่ใกล้กันและรูปทรงของของแข็งไม่เปลี่ยนแปลงมาก

สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า

สรุป เรื่อง สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า คืออะไร พร้อมข้อสอบ

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า คืออะไร แม่เหล็ก เป็นสารที่สามารถดูด-ผลักกันเอง และสามารถดูดพวกสาร แม่เหล็กได้โดยการเหนี่ยวนำ โดยปกติจะมี 2 ขั้ว คือ ขั้วเหนือ และขั้วใต้ แรงระหว่างขั้วเหนือกับขั้วเหนือ จะเกิด แรงผลัก แรงระหว่างขั้วใต้กับขั้วใต้ จะเกิด แรงผลัก

ฟิสิกส์ ไฟฟ้ากระแสสลับ

สรุป ฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้ากระแสสลับ คืออะไร พร้อมข้อสอบ

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหา ไฟฟ้ากระแสสลับ คืออะไร ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current) คือ ไฟฟ้ากระแสที่มีทิศทางการเคลื่อนที่สลับกัน โดยกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในขดลวดตัวนำของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งมีอยู่ 3 ชนิดคือ ไฟฟ้ากระแสสลับ เฟสเดียว สองเฟส และสามเฟส เครื่องกำเนิดกระแสสลับ (alterating current generator

ไฟฟ้าสถิต

สรุป ฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้าสถิต คืออะไร พร้อมข้อสอบ

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง ไฟฟ้าสถิต คืออะไร ไฟฟ้าสถิต หรือ Static electricity เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากความไม่สมดุลของปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบภายในวัสดุหรือบนพื้นผิวของวัสดุ ซึ่งประจุไฟฟ้าเหล่านั้นจะยังคงอยู่จนกระทั่งเกิดการเคลื่อนที่หรือมีการถ่ายเทประจุ (Electrostatic Discharge)   โดยปกติแล้ววัสดุทุกชนิดมีความเป็นกลางทางไฟฟ้า (มีปริมาณของประจุบวกและประจุลบอย่างละเท่า ๆ กัน) แต่หากมีการขัดถู สัมผัส หรือเสียดสีกันระหว่างวัสดุก็จะทำให้ประจุไฟฟ้าเหล่านี้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้าหรือที่เรียกว่า ฉนวน

AP

สอบ AP คืออะไร? ค่าสอบ สถานที่สอบมีอะไรบ้าง

Reading Time: 2 minutes สอบ AP คืออะไร ค่าสอบเท่าไหร่ สอบที่ไหน สอบ AP ถือเป็นอีกรูปแบบการสอบที่มีในประเทศไทยสำหรับน้อง ๆ ในระดับมัธยมที่ต้องการเรียนต่อในระดับสูงขึ้นโดยใช้ระยะเวลาอันแสนรวดเร็ว ดังนั้นผู้ปกครองหรือนักเรียนคนไหนเริ่มวางแผนการเรียนของตนเองเอาไว้บ้างแล้ว ลองมาทำความรู้จักกันเลย ค่าสอบราคาเท่าไหร่ สอบที่ไหน คะแนนใช้ทำอะไรได้บ้าง เพื่อตัดสินใจว่าสรุปแล้วควรสอบดีจริงหรือไม่   สอบ AP คืออะไร Advanced Placement หรือ การสอบ AP

ACT Physics

ACT Physics, SAT Physics และ CU-ATS Physics ต่างกันอย่างไร

Reading Time: 3 minutes หัวข้อที่ออกสอบใน ACT Physics เนื้อหาวิชาฟิสิกส์เป็นส่วนหนึ่งที่เราจะต้องเจอในข้อสอบ ACT Science โดยหัวข้อที่มักออกสอบ ได้แก่ Energy and Matter-Laws Interaction, Conservation Radiations Optics Forces Electrostatics Magnetism   ตัวอย่างข้อสอบ ACT Physics   เปรียบเทียบ ACT

ฟิสิกส์ นิวเคลียร์

ฟิสิกส์นิวเคลียร์ คืออะไร กัมมันตภาพรังสีถูกค้นพบได้อย่างไร

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหา ฟิสิกส์นิวเคลียร์ คืออะไร ฟิสิกส์นิวเคลียร์ คือ สาขาวิชาที่ศึกษาองค์ประกอบต่าง ๆ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันของนิวเคลียสทั้งหลายของอะตอม การประยุกต์ใช้ฟิสิกส์นิวเคลียร์ที่ทราบกันดีที่สุดคือ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์และเทคโนโลยีอาวุธนิวเคลียร์ แต่การวิจัยได้ประยุกต์ไปในหลายสาขา เช่น เวชศาสตร์นิวเคลียร์และการสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก การปลูกฝังไอออนในวิศวกรรมศาสตร์วัสดุ และการหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสีในวิชาภูมิศาสตร์และโบราณคดี อย่างไรก็ตาม สิ่งที่เราต้องรู้จักก่อนในเบื้องต้นคือ นิวเคลียสของอะตอมคืออะไร นิวคลีออนคืออะไร ไอโซโทป และความหมายของปฏิกิริยานิวเคลียร์ รวมไปถึงเรื่องสัญลักษณ์นิวเคลียร์ด้วย ดังนี้ นิวเคลียสของอะตอม คือ

ฟิสิกส์ อะตอม

ฟิสิกส์อะตอม คืออะไร ทฤษฎีอะตอม และ ตัวอย่างข้อสอบเก่า

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหา ฟิสิกส์อะตอม คืออะไร ฟิสิกส์อะตอม คือ การศึกษาโคงรสร้างของอะตอมของธาตุต่างๆ และมีการเจาะลึกลงไปถึงนิวเคลียสและอิเล็กตรอน ที่โคจรอยู่ภายรอบ ซึ่งตั้งแต่ในอดีตก็ได้มีการค้นคว้า ทดลอง จนเกิดเป็นทฤษฎีเกี่ยวกับอะตอมต่าง ๆ มากมาย ดังนี้   แนวคิดกับเรื่องโครงสร้างสสารของดิโมคริตุส “โลกประกอบด้วยสสารและที่ว่าง โดยสสารนั้นประกอบด้วยอะตอมซึ่งเป็นหน่วยที่เล้กที่สุด และไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก สสารแต่ละชนิดประกอบด้วยอะตอมที่มีเนื้อเหมือนกัน แต่มีขนาด รูปร่างและการจัดเรียงตัวต่างกัน จึงทําให้เกิดสสารต่างชนิดกัน การเปลี่ยนแปลงของสสารเกิดจาการเปลี่ยนแปลงลักษณะการจัดเรียงตัวของอะตอม”  

สมดุลกล

สรุป ฟิสิกส์ เรื่อง สมดุลกล คืออะไร พร้อมตัวอย่างข้อสอบ

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง สมดุลกล คืออะไร สมดุลกล (mechanical equilbrium) หรือ สมดุล (equilibrium) หมายถึง วัตถุที่รักษาสภาพการเคลื่อนที่ให้คงเดิม หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งคือ วัตถุอยู่นิ่ง หรือ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ สมดุลกลสามารถแยกได้เป็น 2 แบบ คือ สมดุลสถิต (static equilibrium หมายถึง วัตถุที่อยู่นิ่งและไม่มีการหมุน เช่น

ความร้อน

สรุป ฟิสิกส์ เรื่อง ความร้อน คืออะไร พร้อมตัวอย่างข้อสอบ

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง ความร้อน คืออะไร ความร้อน เป็นพลังงานรูปหนึ่งที่สามารถทำงานได้ และเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้ หรืออาจจะเปลี่ยนรูปมาจากพลังงานรูปอื่นได้ เช่น พลังงานเคมี พลังงานไฟฟ้า ฯลฯ อีกทั้ง ความร้อนยังเป็นพลังงานซึ่งสามารถถ่ายทอดจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปสู่วัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า และจะถ่ายเทให้กันจนกระทั่งอุณหภูมิเท่ากัน   หน่วยของพลังงานความร้อน จุล (joule, J ) เป็นหน่วยของพลังงานกลที่ใช้ในระบบเอสไอ แคลอรี ( calorie, cal

ของแข็งและของไหล

สรุป ฟิสิกส์ เรื่อง ของแข็งและของไหล พร้อมตัวอย่างข้อสอบ

Reading Time: 2 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง ของแข็งและของไหล คืออะไร สสารและสิ่งของต่างๆ ในสภาพปกติทั่วไปจะมี 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลวและแก๊ส ซึ่งของเหลวหรือแก๊สสามารถเรียกว่า ของไหล ได้ เนื่องจากของเหลวและแก๊สสามารถไหลได้นั่นเอง   สภาพยืดหยุ่นของของแข็ง (clasticity) สภาพยืดหยุ่นของของแข็ง คือ สสารในสถานะของแข็งมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมลกุลมากพอที่จะทำให้โมเลกุลของของแข็งอยู่ใกล้กันและรูปทรงของของแข็งไม่เปลี่ยนแปลงมาก ของเข็งจะมีรูปร่างและปริมาตรคงตัว สำหรับของแข็งที่ถูกแรงกระทำแล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปจากเดิม และเมื่อหยุดแรงกระทำวัตถุสามารถกลับคืนสู่รูปร่างเดิมได้ แต่หากหยุดแรงกระทำแล้ววัตถุคงรูปร่างที่เปลี่ยนไป เรียกว่า

สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า

สรุป เรื่อง สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า คืออะไร พร้อมข้อสอบ

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า คืออะไร แม่เหล็ก เป็นสารที่สามารถดูด-ผลักกันเอง และสามารถดูดพวกสาร แม่เหล็กได้โดยการเหนี่ยวนำ โดยปกติจะมี 2 ขั้ว คือ ขั้วเหนือ และขั้วใต้ แรงระหว่างขั้วเหนือกับขั้วเหนือ จะเกิด แรงผลัก แรงระหว่างขั้วใต้กับขั้วใต้ จะเกิด แรงผลัก แรงระหว่างขั้วใต้กับขั้วเหนือ จะเกิด แรงดูด เมื่อนำแท่งแม่เหล็กแขวนให้วางตัวอยู่ในแนวระดับและสามารถหมุนได้อย่างอิสระแล้ว ขั้วเหนือของแท่งแม่เหล็กจะชี้ไปทางขั้วโลกเหนือ

ฟิสิกส์ ไฟฟ้ากระแสสลับ

สรุป ฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้ากระแสสลับ คืออะไร พร้อมข้อสอบ

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหา ไฟฟ้ากระแสสลับ คืออะไร ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current) คือ ไฟฟ้ากระแสที่มีทิศทางการเคลื่อนที่สลับกัน โดยกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในขดลวดตัวนำของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งมีอยู่ 3 ชนิดคือ ไฟฟ้ากระแสสลับ เฟสเดียว สองเฟส และสามเฟส เครื่องกำเนิดกระแสสลับ (alterating current generator หรือ alternato) คือ เครื่องมือที่ก่อกำเกิดไฟฟ้ากระแสสลับ ประกอบด้วยขดลวดหมุนอยู่ในสนามแม่เหล็ก

ไฟฟ้าสถิต

สรุป ฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้าสถิต คืออะไร พร้อมข้อสอบ

Reading Time: 3 minutes สรุปเนื้อหาเรื่อง ไฟฟ้าสถิต คืออะไร ไฟฟ้าสถิต หรือ Static electricity เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากความไม่สมดุลของปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบภายในวัสดุหรือบนพื้นผิวของวัสดุ ซึ่งประจุไฟฟ้าเหล่านั้นจะยังคงอยู่จนกระทั่งเกิดการเคลื่อนที่หรือมีการถ่ายเทประจุ (Electrostatic Discharge)   โดยปกติแล้ววัสดุทุกชนิดมีความเป็นกลางทางไฟฟ้า (มีปริมาณของประจุบวกและประจุลบอย่างละเท่า ๆ กัน) แต่หากมีการขัดถู สัมผัส หรือเสียดสีกันระหว่างวัสดุก็จะทำให้ประจุไฟฟ้าเหล่านี้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้าหรือที่เรียกว่า ฉนวน เช่น การนำลูกโป่งมาถูกับเส้นผม หรือการสัมผัสกันระหว่างรองเท้าหนังและพรมเช็ดเท้า สิ่งเหล่านี้จะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไฟฟ้า เป็นผลให้เกิดความไม่สมดุลของจำนวนประจุบวกและประจุลบในวัสดุแต่ละชิ้น